SLE หรือโรคพุ่มพวง
ดังนั้น ผู้ป่วยโรคลูปัส จึงมีอาการแสดงทางคลินิกที่หลากหลาย ผู้ป่วยแต่ละรายจะมีความรุนแรง และพยากรณ์โรคที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับจำนวนอวัยวะ และชนิดของอวัยวะที่มีความผิดปกติ อาการที่ไม่รุนแรง เช่น อาการผื่น ปวดข้อ ไปจนถึงอาการแสดงที่มีความรุนแรงถึงชีวิต เช่น ไตอักเสบ การดำเนินโรคในโรคลูปัสนั้น ส่วนใหญ่จะมีช่วงเวลาที่โรคกำเริบ และช่วงเวลาที่โรคสงบสลับกัน โดยอาการกำเริบนั้นมีความแตกต่างกันระหว่างบุคคล การให้การดูแลรักษาผู้ป่วยแต่ละราย ขณะที่มีอาการกำเริบแตกต่างกัน นอกจากนี้การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคลูปัส ไม่ได้จำกัดเพียงการรักษา ขณะที่ผู้ป่วยมีอาการกำเริบเท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงการวางแผนการรักษาโรคในระยะยาวเพื่อป้องกันการกำเริบ และภาวะแทรกซ้อนทั้งจากตัวโรคและจากการรักษาโรคร่วมกับการติดตามผู้ป่วยที่เหมาะสม
ผู้ป่วย SLE รักษาไม่หายแต่สามารถมีคุณภาพีชีวิตใกล้เคียงคนปกติ ผู้ป่วยต้องทราบว่าโรคนี้จะมีบางช่วงที่ปราศจากอาการเรียก remission บางช่วงก็มีระยะที่เกิดโรคกำเริบเรียก flares ผู้ป่วยต้องเรียนรู้วิธีป้องกันโรคกำเริบและรู้วิธีรักษาโรคนี้มักจะเป็นในผู้หญิงแต่ไม่เป็นกรรมพันธุ์ โรค SLE มีได้หลายลักษณะดังนี้
- Systemic lupus erythematosus (SLE) หมายถึงโรคที่มีการทำอักเสบและมีการทำลายเนื้อเยื่อหลายอวัยวะ เช่น ผิวหนัง ไต ข้อ หัวใจ
- Discoid lupus erythematosus โรคที่เป็นเฉพาะผิวหนังโดยเฉพาะบริเวณหน้า หนังศีรษะ ผู้ป่วยจำนวนไม่มากที่เปลี่ยนไปเป็น SLE
- Drug-induced lupus เป็นกลุ่มโรคที่มีอาการเหมือน SLE เช่น มีผื่น ข้ออักเสบ มีไข้ แต่ไม่เป็นโรคไต เมื่อหยุดยาอาการต่างๆจะหายไป
- Neonatal lupus ทารกที่เกิดจากแม่ที่เป็น SLE พบน้อยมาก
สาเหตุของโรคลูปัส SLE
สาเหตุที่แท้จริงไม่มีใครทราบ แต่เชื่อมีปัจจัยทางพันธุกรรมส่งเสริม ซึ่งมีหลักฐานจากการเกิดโรคลูปัสในแฝดที่มาจากไข่ใบเดียวกัน มีการเกิดโรคลูปัสสูงกว่าแฝดที่มาจากไข่คนละใบ นอกจากนั้นยังพบยีนที่เอื้อต่อการเกิดโรค ปัจจัยสำคัญคือสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการทำให้เกิดโรค เช่น การติดเชื้อ ยา แสงแดด สาเคมีในสิ่งแวดล้อม
อาการของโรคลูปัส SLE
โรคลูปัสมีความรุนแรงแต่ละคนไม่เท่ากัน และสามารถเกิดอวัยวะได้หลายอวัยวะ เช่น
อาการทางข้อ, อาการทางผิวหนัง, อาการทางระบบประสาท, อาการทางโรคเลือด, อาการทางโรคไต, อาการทางโรคหัวใจ
การวินิจฉัยโรค SLE
เนื่องจากความรุนแรงของโรคในแต่ละคนไม่เท่ากัน และอาการแต่ละระบบก็มีความรุนแรงต่างกันและอาการแสดงไม่พร้อมกัน ทำให้การวินิจฉัยโรคมีความไม่แน่นอน จึงต้องวินิจฉัยตามเกณฑ์ซึ่งต้องอาศัยประวัติ การตรวจร่างกายพบผื่น ข้ออักเสบ แพ้แสง และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษาโรคลูปัส
โรคลูปัสจะเป็นๆ หายๆ และมีการกำเริบ หลักสำคัญการรักษาโรคลูปัสคือ การดูแลตัวเองเพื่อป้องกันการกำเริบ การรักษาแบ่งออกเป็นการชักนำเพื่อให้โรคสงบโดยเร็วเพื่อป้องกันไตเสื่อม เมื่อโรคสงบแล้วจะต้องป้องกันมิให้โรคกำเริบ การรักษาแบ่งออกเป็นการดูแลตัวเอง และการใช้ยา
โรคแทรกซ้อนของโรคลูปัส
โรคลูปัสเป็นโรคที่กระทบกับอวัยวะหลายอวัยวะและหลายระบบ การป้องกันโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากตัวโรคเอง เช่น ไตวาย ซีด เกล็ดเลือดต่ำ โรคทางระบบปาะสาท รวมทั้งโรคแทรกซ้อนที่เกิดจากยากดภูมิ เช่น การติดเชื้อฉวยโอกาส เช่น วัณโรค โรคพยาธิ นากจากนั้นยังต้องป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด เนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
สัญญาณเตือนภัย อ่อนเพลีย, ปวดข้อ, ผื่น, ไข้, แน่นท้อง, ปวดศีรษะ, มึนงง
การป้องกันการกำเริบ
- ต้องเรียนรู้สัญญาณเตือนภัย
- ต้องตรวจร่างกายสม่ำเสมอ
- ต้องเป้นหมายการรักษา
- ต้องหลีกเลี่ยงแสงแดด
- รักษาสุขภาพให้ดีและคุมอาหาร
- หลีกเลี่ยงความเครียด
สรุป
โรคลูปัสนั้นเป็นโรคเรื้อรังที่มีความหลายหลายของอาการ และอาการแสดง แพทย์ควรมีความรู้ ความเข้าใจในการวินิจฉัย การประเมินอวัยวะที่มีอาการ ระดับการกำเริบของโรค อวัยวะที่สูญเสียหน้าที่ไปแล้ว ภาวะแทรกซ้อนในระยะสั้น ภาวะแทรกซ้อนในระยะยาวเพื่อประกอบการตัดสินใจเลือกชนิดการรักษา โดยคำนึงถึงการรักษาที่พอเพียงที่จะควบคุมโรคได้ มีผลแทรกซ้อนในระยะสั้นและระยะยาวน้อยที่สุด เนื่องจากการรักษาโรคลูปัสมีระยะการรักษาโรคยาวนาน ดังนั้น นอกจากการรักษาตัวโรคแล้วยังควรให้การรักษาป้องกันภาวะแทรกซ้อนในระยะยาว และควรให้ความสำคัญต่อการให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยถึงแนวทางการรักษา แนวทางการปฏิบัติตนซึ่งจะนำไปสู่ผลการรักษาที่ดีในระยะยาว
ที่มา Siamhealth.net
สนใจสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม |
หรือสั่งซื้อสินค้าได้ที่
โทร. 082 959 2695
Line ID : @bim100apco
-
APCOประกาศความเป็นเลิศ “นวัตกรรมแห่งชาติไทยสู่นวัตกรรมโลก” รับวันเอดส์โลกด้วยภูมิคุ้มกันบำบัดจากพืชกินได้ยกระดับคุณภาพชีวิตผู้ติดเชื้อHIVประสบความสำเร็จสู่ภาวะHIVสงบ หรือFunctional...
-
มะเร็งคือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดั...
-
ปัจจัยเสี่ยงของมะเร็งลำไส้ใหญ่ สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแต่มักจะพบร่วมปัจจัยต่างๆดังนี้ พบมากในผู้ป่วยอายุมากกว่า 50 ปี แต่สามารถพบในอายุน้อยได้ อาหาร ผู้ป่วยกลุ่มนี้มักจะรับประทานอ...
-
มะเร็งปอด ไม่ว่าจะระยะใดก็มีหนทางในการดูแลรักษา และส่งผลให้มีชีวิตที่ยืนยาวหรือดำรงชีวิตได้ดีขึ้น เมื่อได้รับการวินิจฉัยและมีการรักษาที่ถูกต้องมะเร็งปอดถือว่าเป็นเนื้องอกชนิดหนึ่งข...
-
การตรวจมะเร็งแรกเริ่ม เป้าหมายของการค้นหามะเร็งเริ่มแรกคือการค้นหาการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ ก่อนที่จะเกิดอาการของโรค การวินิจฉัยมะเร็งปากมดลูกแรกเริ่มโดยมากมาจากการตรวจปากมดลูกประจำ...
-
ไม่มีใครเหลียวแล ต้องดูแลตนเอง เพราะข้อเข่าเสื่อมก่อนวัยอันควรเกิดขึ้นได้ทุกเมื่อ โรคข้อเข่าเสื่อม(Osteoarthritis) สามารถพบได้บ่อยที่สุดของบรรดาโรคข้ออักเสบ ณ ปัจจุบันนี้ ไม่ใช่แค่...
-
วุ้นตาเสื่อม โรคสำหรับคนใช้คอมพิวเตอร์ วุ้นตาเสื่อมเป็นโรคที่เกิดจากวุ้นตามีตะกอน อาจเป็นจุดเล็กหรือเส้น ทำให้เวลามองจะเห็นเป็นคราบคล้ายหยากไย่ ส่วนมากจะพบในผู้ที่มีอายุ 50 ปีขึ้น...
-
สาเหตุของต้อเนื้อต้อลม สาเหตุที่แท้จริงยังไม่มีใครทราบ แต่โรคนี้มักจะพบในคนที่อยู่กลางแจ้ง แสงแดดมากจึงเชื่อว่าปัจจัยจากสิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อการเกิดโรคนี้แสงแดด หรือ แสงอัลตราไวโอเล...
-
ไซนัส หมายถึงโพรงอากาศที่อยู่รอบ ๆ โพรงจมูกเราทั้งซ้ายและขวา โดยปกติคนเรามีโพรงไซนัสทั้งหมด4แห่ง คือ บริเวณระหว่างตาทั้งสองข้าง บริเวณแก้ม บริเวณหน้าผาก และบริเวณในสุดของรูจมูกและท...
-
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่งซึ่งในปัจจุบันยังไม่ทราบต้นเหตุที่แท้จริงของโรค แต่สันนิษฐานว่าอาจเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน เช่น พันธุกรรม, การสูบบุหรี่, และภ...
-
สาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเก๊าท์ คือปัจจัยทางกรรมพันธุ์และภาวะแวดล้อมต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดกรดยูริคสูงในเลือดซึ่งส่วนใหญ่จะเกิดจากการได้รับกรดยูริคหรือสารพิวรีนเข้าไปมากหรือมีการสลายของค...
-
สาเหตุสำคัญของโรคคอพอกเป็นพิษ โรคGrave's disease เกิดภาวะที่มีภูมิของร่างกายมีการกระตุ้นต่อมไทรอยด์ ให้สร้างฮอร์โมนออกมามาก ผู้ป่วยจะมีต่อมไทรอยด์โต โรคMultinudular toxic goiterหม...
-
โรคเบาหวาน เป็นความผิดปกติของร่างกายที่เกิดจากเบต้าเซลล์ของตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่เพียงพอ หรือตัวรับอินซูลินที่ผิวเซลล์เกิดภาวะดื้อต่ออินซูลิน อินซูลินเป็นสารที่ช่วยในการนำน้ำตาลเ...
-
สะเก็ดเงินเป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่งซึ่งมีลักษณะสำคัญคือ เป็นปื้นนูนแดงปกคลุมด้วยสะเก็ดสีเทาเงินปื้นแดงนี้มักพบบริเวณข้อศอก เข่า หลังส่วนล่าง และหนังศีรษะแต่อาจพบผื่นที่ผิวหนังบริเว...
-
อาการปวด หัวแบบ ไมเกรน จะมีตั้งแต่ระดับปานกลางไปจนถึงมากจนกระทบกับการดำรงชีวิตประจำวัน อาจจะมีอาการปวดตุบๆ แถวขมับ หรืออาจจะจะปวดบริเวณเบ้าตา และอาจจะมีอาการคลื่นไส้อาเจียน อาการป...
-
บริเวณที่พบช็อกโกแล็ตซีสต์ได้บ่อยคือรังไข่ เนื่องจากบริเวณรังไข่เป็นบริเวณที่มีฮอร์โมนเอสโตรเจนสูง จึงเหมาะแก่การเจริญเติบโต แต่ถ้าเยื่อบุโพรงมดลูกแทรกเข้าไปในกล้ามเนื้อมดลูกจะไม...
-
เนื่องจากหูคนเราประกอบด้วยหูชั้นนอก, หูชั้นกลางและหูชั้นใน หูชั้นในแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนมีลักษณะคล้ายก้นหอยทำหน้าที่รับเสียง กับส่วนที่เป็นอวัยวะรูปเกือกม้า 3 อันมารวมกันทำ...
-
สาเหตุของผื่นแพ้คันผิวหนังเกิดจากสารภูมิแพ้ซึ่งอาจจะอยู่ในสิ่งแวดล้อมพวกไรฝุ่นดอกหญ้าอาหารหรือสารเคมีอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งอาจเกิดจากผิวหนังของผู้ป่วยไว (sensitive)ต่อสภา...
-
ภูมิแพ้อากาศ เกิดจากภาวะที่ภูมิคุ้มกันของร่างกาย มีปฏิกิริยากับโปรตีน หรือสารก่อภูมิแพ้จากสิ่งแวดล้อมซึ่งปกติไม่เป็นอันตรายสำหรับผู้อื่น แต่เมื่อร่างกายเราได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้า...
-
โรดริดสีดวงทวารเป็นโรคที่พบได้บ่อย โดยมีอาการทางทวารหนักที่สำคัญคือเลือดออกขณะและหลังถ่ายอุจจาระ และติ่งเนื้อขอบทวาร อาการในระยะแรกมักเป็น ๆ หาย ๆ ไม่รุนแรง ผู้ที่มีการดำเนินโรคมาก...
-
โรคกระเพาะอาหาร หมายถึง ภาวะมีแผลที่เยื่อบุกระเพาะอาหารและลำไส้เล็กส่วนต้น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากมีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป เยื่อบุกระเพาะอาหารอ่อนแอ และมีเชื้อแบคทีเรีย Helicobac...